ยาที่ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร

ยาน้ำ      ยาฉีด               

 

รายการยา
Pregnancy Catagories
Lactation
หมายเหตุ
25-50 mg/kg/day Acetylcysteine
B
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Albendazole (200)
C
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Alum milk
ไม่ได้จัดกลุ่ม ปลอดภัยตามความจำเป็น
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Allopurinol
C
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Amitryptyline (10,20 mg)
C
มีการศึกษาในมนุษย์น้อย อาจใช้ได้
 
25-50 mg/kg/day Amoxycillin (250,500 mg)
B
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Aspirin (81)
D
ปลอดภัย แต่ไม่ควรใช้เป็นระยะเวลานาน เฝ้าระวัง >
haemolysis,prolonged bleeding time and metabolic acidosis
25-50 mg/kg/day Bisacodyl
B
ไม่มีการศึกษาในมนุษย์ แต่อาจใช้ได้
 
25-50 mg/kg/day Bromhexine
B
ไม่ได้จัดกลุ่มไว้ ไม่มีข้อมูล
 
25-50 mg/kg/day Carminative Mixture
ไม่ควรใช้ เนื่องจากมีแอลกอฮอล์ผสม
 
25-50 mg/kg/day Cinnarizine
C
หลีกเลี่ยงการใช้
ทำให้ทารกเกิดอาการกระวนกระวาย
25-50 mg/kg/day Colchicine
C
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Co-trimoxazole
C
หลีกเลี่ยงในหากทารกน้อยกว่า 1 เดือน เฝ้าระวัง >
haemolysis,jaundice) งดใน G-6-PD deficiency.  
25-50 mg/kg/day CPM (2)
C
มีการศึกษาในมนุษย์น้อย อาจใช้ได้
 
25-50 mg/kg/day Cyproheptadine
B
หลีกเลี่ยงการใช้
ยับยั้งการสร้างน้ำนมและ
ทำให้ทารกกระวนกระวายได้
25-50 mg/kg/day Dextromethophan
C
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Diazepam (2,5 mg)
D
ปลอดภัย (Single dose)
 
25-50 mg/kg/day Diclofenac
B (D in third trimester)
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Dicloxacillin (250)
B
ผ่านทางน้ำนมได้เล็กน้อย ใช้ได้
 
25-50 mg/kg/day Digoxin
C
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Dimenhydrinate
B
มีการศึกษาในมนุษย์น้อย อาจใช้ได้
 
25-50 mg/kg/day Domperidone
C
มีการศึกษาในมนุษย์น้อย อาจใ้ช้ได้
ปัจจุบันพบใช้ยานี้เพื่อช่วยเพิ่มการหลั่งน้ำนม
25-50 mg/kg/day Doxycycline
D
ควรหลีกเลี่ยงหากไม่จำเป็น >
staining infant’s teeth
25-50 mg/kg/day Enalapril (5)
D (C in first trimester)
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Ergotamine tartrate
X
ควรหลีกเลี่ยง >
ergotism
25-50 mg/kg/day Erythromycin (250)
B
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Folic
A
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Ferrous fumarate
A
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Furosemide
C
ยาออกทางน้ำนม แต่ไม่พบอันตรายต่อทารก
อาจลดการสร้างน้ำนม
25-50 mg/kg/day Gemfibrozil
C
ไม่มีข้อมูล
 
25-50 mg/kg/day Glibenclamide
C
ปลอดภัย เฝ้าระวัง >
hypoglycemia
25-50 mg/kg/day Haloperidol (2,5 mg)
C
ควรหลีกเลี่ยงหากไม่จำเป็น >
drawsiness
25-50 mg/kg/day Hydrochlorothiazide
B
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Hydroxyzine
C
มีการศึกษาในมนุษย์น้อย อาจใช้ได้
 
25-50 mg/kg/day Hyoscine
C
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Ibuprofen (200)
C
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Isosorbide (5,10 mg)
C
ข้อมูลไม่เพียงพอ
 
25-50 mg/kg/day Indomethacin
B (D if used longer than 48 hours
or after 34 weeks gestation.)
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Ketoconazole (200)
C
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Mefenamic acid (250)
C
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Metformin
B
ไม่มีข้อมูลเพียงพอ
 
25-50 mg/kg/day Metronidazole (200)
B
ควรหลีกเลี่ยงหากไม่จำเป็น >
หากกิน 2 กรัมให้งดนมแม่ 12 ชั่วโมง
25-50 mg/kg/day Morphine
C
ปลอดภัย (Single dose)
 
25-50 mg/kg/day MTV
No data
 
25-50 mg/kg/day Nifedipine (5,10 mg)
C
ปลอดภัย แต่ไม่มีการศึกษาในการใช้ระยะยาว
 
25-50 mg/kg/day Norfloxacin (200)
C
มีการศึกษาในมนุษย์น้อย อาจใช้ได้
 
25-50 mg/kg/day Ofloxacin (100)
C
มีการศึกษาในมนุษย์น้อย อาจใช้ได้
 
25-50 mg/kg/day Paracetamol (325,500 mg)
B
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Penicillin V (125,500 mg)
B
ปลอดภัย เฝ้าระวังผลข้างเคียง >
ท้องเสีย ติดเชื้อรา เกิดผื่น แพ้ยา
25-50 mg/kg/day Pethidine
B (D if used longer or high dose)
ปลอดภัย (Single dose)
 
25-50 mg/kg/day Phenobarbitone (30,60 mg)
D
ปลอดภัย เฝ้าระวังผลข้างเคียง >
drowsiness,poor suckling and poor weight gain
25-50 mg/kg/day Phenytoin (100)
D
ปลอดภัย เฝ้าระวังผลข้างเคียง >
cyanosis and mehaemoglobinemia
25-50 mg/kg/day Prazosin
C
-
 
25-50 mg/kg/day Prednisolone
C
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Propranolol (10,40 mg)
D
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Propylthiouracil (PTU)
D
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Rantidine (150)
B
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Roxithromycin (150)
B
มีการศึกษาในมนุษย์น้อย อาจใช้ได้
 
25-50 mg/kg/day Salbutamol
C
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Seratiopeptidase
No data
 
25-50 mg/kg/day Simvastatin (20)
X
ไม่ควรใช้
 
25-50 mg/kg/day Sodamint
C
ไม่มีข้อมูล
 
25-50 mg/kg/day Theophylline
C
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Thyroxine
A
ปลอดภัย
 
25-50 mg/kg/day Tolperisone
No data
 
25-50 mg/kg/day Trihexyphenidyl (Benzhexol ,Artane)
C
หลีกเลี่ยงการใช้
ยับยั้งการหลั่งน้ำนม
25-50 mg/kg/day Vitamin B1-6-12
A (C if used over RDA)
ปลอดภัย แต่ไม่ควรใช้ในขนาดสูง
ระดับวิตามินบี 1, 6 และ 12 ที่ RDA แนะนํา
ในระยะให?นมบุตรคือ 1.6, 2.1 มิลลิกรัม และ 2.6 ไมโครกรัม/วัน
25-50 mg/kg/day Vitamin B
A (C if used over RDA)
ปลอดภัย แต่ไม่ควรใช้ในขนาดสูง
ระดับวิตามินบี 1, 6 และ 12 ที่ RDA แนะนํา
ในระยะให?นมบุตรคือ 1.6, 2.1 มิลลิกรัม และ 2.6 ไมโครกรัม/วัน
25-50 mg/kg/day Vitamin C
A (C if used over 70 mg.)
ปลอดภัย แต่ไม่ควรใช้ในขนาดสูง
ทำให้เลือดออก หรือ ดีซ่าน

โรค/อาการ

ยาที่แนะนำให้ใช้

อาการคลื่นไส้ อาเจียน

Dimenthydrinate, Diphenhydramine(B) เป็นยาต้านการอาเจียนที่ใช้ได้อย่างปลอดภัยในสตรีมีครรภ์

 

อาการแสบในยอดอก และอาหาร

ไม่ย่อย โรคกระเพาะอาหาร

 

ใช้ยาลดกรด Magnesium hydroxide(B), Aluminium  hydroxide(C) Ranitidine(B) หรือ อาจใช้ Simethicone เพื่อ

บรรเทาอาการท้องอืดได้

-ไม่ควรใช้ Omeprazole(pregnancy category C)

 

อาการปวดศีรษะ

 

 

 

 

- ยาที่ปลอดภัยที่สุดได้แก่ Paracetamol (Pregnancy category B )

ห้ามใช้

- NSAIDs(B หรือ D ในช่วงไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์)

- Ergotamine(pregnancy category X)

 

อาการท้องผูก

 

-ยากลุ่มที่ออกฤทธิ์เพิ่มกากอาหาร เช่น Psyllium, Methyl cellulose  ยากลุ่มนี้มีความปลอดภัยสูงเนื่องจากไม่ถูกดูดซึมในทางเดิน

-ยากลุ่มที่ทำให้อุจจาระนิ่มลง เช่น lactolose, docusate

ห้ามใช้

- ยาที่มีเกลือ โชเดียม หรือ แมกนีเซียม ทำให้สมดุลอิเลคโตรไลต์ในร่างกายเสียไป

- mineral oil รบกวนการดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมัน

- bisacodyl, senna ยาสามารถถูกดูดซึมเข้าสู่มารดาและทารกในครรภ์ได้และยังอาจทำให้มดลูกบีบตัวได้ง่าย

 

 

โรค/อาการ

ยาที่แนะนำให้ใช้

การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ

- ยาที่ใช้ได้อย่างปลอดภัยในสตรีมีครรภ์ ได้แก่ penicillin,cephalosporin และ nitrofuratoin (pregnancy cat. B)

- ยาที่ควรหลีกเลี่ยงได้แก่ sulfamethoxazone/trimetroprim(Bactrim?) (pregnancy cat. C/D)

ห้ามใช้

tetracycline(D), quinolones

อาการคันช่องคลอด

- สามารถใช้ clotrimazole(B) ได้

- ห้ามใช้ fluconazole, itraconazole(C)

อาการหวัด น้ำมูกไหล และจำเป็นต้องใช้ยาแก้แพ้

 

- ยาที่ใช้ได้อย่างปลอดภัย ได้แก่ Chorpheniramine (pregnancy cat. B)

- แม้ว่ายา cetirizine จะอยู่ใน pregnancy category B แต่ข้อมูลความปลอดภัยของการใช้ยากลุ่มนี้ยังมีอยู่น้อย ถ้าไม่จำเป็นควรหลีกเลี่ยง

อาการคัดจมูก

 

- ยาในกลุ่มนี้เช่น Actifed? ถ้าใช้ในช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ จะทำให้เท้าบิดแต่กำเนิด(clubfoot) หรือเกิดเนื้อเยื่อยื่นออกมาบริเวณขาหนีบของทารก(inguinal hernia)

- อาจใช้ ยา Oxymetolazine drops/spray

 

อาการไอ

 

- ยาที่ใช้ในการบรรเทาอาการไอ หรือยาขับเสมหะ เช่น dextrometrophan, guifenesin ยังมีความปลอดภัยในการใช้

ค่อยข้างน้อย จึงควรหลีกเลี่ยงการใช้ในสตรีมีครรภ์ และไม่ควรใช้ยาที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์(M. tussis) เพราะทำ

ให้ทารกเกิดความเสี่ยงของ fetal alcohol syndrome

เบาหวาน

 

Insulin(Pregnancy category B)

ความดันโลหิตสูง

Methyldopa(Pregnancy category B)

 

Pregnancy Risk Category

องค์การอาหารและยาของประเทศสหรัฐอเมริกา (The United States Food and Drug Administration ,FDA) ได้จัดแบ่งกลุ่มยาตามระดับความปลอดภัยต่อมารดาและทารกในครรภ์ ออกเป็น 5 ประเภท คือ Pregnancy Category A , B , C , D และ X

Pregnancy Category A จากการศึกษาในมนุษย์พบว่าไม่มีความเสี่ยงในการก่อให้เกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์เมื่อใช้ในช่วง 3 เดือนแรก และไม่มีหลักฐานทางวิชาการที่แสดงให้เห็นว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดความผิดปกติของทารกในครรภ์เมื่อใช้ในช่วงไตรมาสที่ 2 และ3 ดังนั้นยาที่จัดอยู่ในประเภทนี้สตรีมีครรภ์จึงสามารถปลอดภัยอย่างปลอดภัย

Pregnancy Category B จากการศึกษาในสัตว์พบว่ายาที่จัดอยู่ในประเภทนี้ไม่มีความเสี่ยงในการทำให้เกิดความผิดปกติของตัวอ่อนในครรภ์ แต่ไม่มีการศึกษาในมนุษย์ ดังนั้นยาที่จัดอยู่ในประเภทนี้สามารถใช้ในสตรีมีครรภ์ได้อย่างปลอดภัย 

Pregnancy Category C จากการศึกษาในสัตว์พบว่ายาที่จัดอยู่ในประเภทนี้ทำให้เกิดความผิดปกติต่อตัวอ่อนในครรภ์ แต่ไม่มีการศึกษาในมนุษย์ ดังนั้นการจะใช้ยาในประเภทนี้ควรใช้เมื่อมีการประเมินจากแพทย์ระหว่างประโยชน์ที่ได้จากการใช้ยาและความเสี่ยงต่อความผิดปกติของทารกในครรภ์ว่าเกิดประโยชน์มากกว่าความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น 
ส่วนอีกความหมายคือ ไม่มีการศึกษาในมนุษย์และสัตว์ทดลอง ดังนั้นการใช้ยาในประเภทนี้ควรใช้เมื่อเกิด
ประโยชน์จากการใช้ยา มากกว่าความเสี่ยงต่อความผิดปกติของทารกในครรภ์ 

Pregnancy Category D ยาที่จัดอยู่ในประเภทนี้มีความเสี่ยงในการก่อให้เกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์
ดังนั้นยาในกลุ่มนี้จะใช้ก็ต่อเมื่อมีการพิจารณาแล้วว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์มากกว่าความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ ซึ่งมักจะเป็นการใช้ยาเพื่อช่วยชีวิตมารดาหรือเป็นการใช้ยาเพื่อรักษาโรคที่รุนแรงซึ่งไม่สามารถใช้ยาที่ปลอดภัยมากกว่าได้หรือไม่ได้ผลตามที่ต้องการ 

Pregnancy Category X จากการศึกษาในสัตว์หรือมนุษย์พบว่ายาที่จัดอยู่ในประเภทนี้ทำให้เกิดความผิดปกติของตัวอ่อนหรือทารกในครรภ์ และมีความเสี่ยงในการเกิดความผิดปกติมากกว่าประโยชน์ที่ได้รับจากยา ดังนั้นยาในประเภทนี้จัดเป็นยาที่ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์หรือในสตรีที่มีความเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์

ดังนั้นการจ่ายยา Pregnancy Category C ในหญิงตั้งครรภ์ 1-3 เดือน จะขึ้นอยู่กับการประเมินของแพทย์ ระหว่างประโยชน์ที่ได้จากการใช้ยาและความเสี่ยงในการเกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์ ว่าจะเกิดผลอย่างไรมากกว่ากัน ซึ่งถ้าหากมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาในกลุ่ม Pregnancy Category C และไม่สามารถใช้ยาใน Category A หรือ Category B ได้แล้ว รวมทั้งได้ประเมินอย่างรอบคอบว่าเกิดประโยชน์ในการรักษามากกว่าความเสี่ยงในการเกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์ 

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แหล่งข้อมูลอ้างอิง

  1. http://safefetus.com/index.php
  2. http://competencyrx.com/
  3. http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/dic/QA_full.php?id=280
  4. http://www.sk-hospital.com/~ob/teach/drugs&lactation.htm
  5. http://kcrhos.go.th/index.php?option=com_content&view=category&id=65&Itemid=126